ความกังวลของภาครัฐในการรับมือสถานการณ์ท่ามกลางฤดูภัยแล้ง
เมื่อวันที่ 1เม.ย. ที่ผ่านมา นายก หรือพล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา และโฆษกรัฐบาลมีความกังวลถึงประเด็นสภาวะภัยแล้ง ออกมาชี้แจ้ง พร้อมขอความร่วมมือปชช.เตรียมรับมือการบริหารจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพคุ้มค่าเพื่อที่จะบรรเทาเหตุการ์ณที่จะสร้างหายนะแก่ชาวไทยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ซึ่งถูกพบเจอมาแล้ว
นักต่อนักตามต่างจังหวัด ต่อเนื่อง ขาดแคลนน้ำอุปโภคบริโภคเพราะพื้นที่ของจังหวัดมีแหล่งน้ำต้นทุนไม่เพียงพอ
พื้นที่ประเทศไทยประกอบด้วย 22 ลุ่มน้ำหนัก จากข้อมูล ณ ปี 2563 พบว่าส่วนใหญ่ เป็นพื้นที่เชิงการเกษตรที่ต้องใช้น้ำฝนเป็นหลักการบริหารจัดการน้ำจึงขึ้นอยู่กับปัจจัยสภาพภูมิอากาศที่ไม่สามารถควบคุมได้ตลอดเวลาซึ่งการให้ความช่วยเหลือจะเป็นลักษณะการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าไม่สามารถแก้ไขปัญหาให้ยั่งยืนได้ถึงแม้ช่วงเวลาปีนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงหรือคาดเคลื่อนด้วยความที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกๆ ฝ่าย จึงจำเป็นที่จะต้องบูรณาการร่วมกัน
ในฐานะผู้ผลิตนวัตกรรมสินค้าท่อโพลิเอทีลีนเสริมเหล็ก ถังกักเก็บน้ำใต้ดิน ถังกักเก็บน้ำบนดิน ตอบสนองไม่ใช่แค่ปัญหาภัยแล้ง แต่รวมไปถึงปัญหาน้ำท้วมที่มีให้เห็นอยู่บ่อยครั้งจนกลายเป็นฝันร้ายของคนไทยหลายๆ คน โดยเฉพาะในพื้นที่ที่ประสบปัญหาภัยแล้งซ้ำซาก ทั้งนี้ทางนายกหรือพล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา ที่เล็งเห็นถึงปัญหานี้พร้อมเข้าช่วยเหลือประชาชนพื้นที่เสี่ยงประสบปัญหาภัยแล้งอย่างรวดเร็ว และอย่างทั่วถึงให้บูรณาการแผนงานโครงการจัดหาแหล่งน้ำใต้ดินร่วมกับกรมทรัพยากรน้ำบาดาลกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อใช้เป็นแหล่งน้ำสำรองสำหรับแก้ไขปัญหาภัยแล้งซึ่ง เพื่อตอบสนองความต้องการใช้น้ำในฤดูแล้งปี 2565 ที่กำลังมาถึง เน้นย้ำการหาวิธีเก็บกักน้ำ การกระจายน้ำและการจูงน้ำไว้ใช้ในยามปกติและในฤดูแล้งให้มีน้ำใช้อย่างยั่งยืน
ย้อนกลับไปในอดีตปัญหาที่เกิดขึ้นแล้วยกตัวอย่าง ภัยแล้งปี พ.ศ.2563 เป็นผลพวงที่มาจากฤดูฝนปี พ.ศ.2562 ซึ่งเป็นปีที่มีปริมาณฝนน้อยที่สุดในรอบ 30 ปี สาเหตุหลักมาจากปรากฏการณ “เอลนีโญ” ก่อให้เกิดปัญหาขาดแคลนน้ำอย่างเห็นได้ชัด โดยเฉพาะน้ำในพี้นที่ทำเกษตรกรรมโดยที่ผ่านมาประเทศไทยเกิดภาวะขาดแคลนน้ำและน้ำท่วมอย่างรุนแรงในรอบหลายสิบปีที่ผ่านมาและยังมีทิศทางและแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างตอเนื่อง ซึ้งได้ส่งผลกระทบเสียหายต่อเศรษฐกิจและความเป็นอยู่ของประชาชนชาวไทยในภาพรวมรวมไปถึงให้หน่วยงานส่วนท้องถิ่นตรวจสอบสภาพอาคารควบคุมน้ำเตรียมความพร้อมสำหรับการเก็บกักน้ำในฤดูฝนที่กำลังจะมาถึง
โดยผู้ว่าราชการจังหวัดต้องกำกับดูแลการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในระดับพื้นที่อย่างใกล้ชิดต้องเดินหน้าสร้างการรับรู้และส่งเสริมให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาเรื่องน้ำในพื้นที่ย้ำการประชาสัมพันธ์ รณรงค์ แจ้งเตือนให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลสถานการณ์น้ำให้ประชาชนตระหนักในการใช้น้ำอย่างประหยัดและคุ้มค่าเกิดประโยชน์สูงสุดเพื่อช่วยลดผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงทีซึ่งความร่วมมือของทุกภาคส่วน จะทำให้ปัญหาวิกฤตภัยแล้งผ่านพ้นไปได้
ทางบริษัทฯเองก็เป็นหนึ่งในผู้ประกอบการที่ต่อสู้ให้มีส่วนร่วมในการช่วยแก้ไขปัญหาดังกล่าว ยกตัวอย่างโครงการที่ต่อยอดจากโครงการธนาคารน้ำใต้ดินระบบปิด(ชนิดผันน้ำลงใต้ดิน) สู่โครงการธนาคารน้ำเพื่อชีวิต นำร่องโดยนายกชาตรี ศรีวิชาฐาหรือนายก อบต.เก่าขาม อ.น้ำยืน จ.อุบลราชธานี และทีมงาน ลงสำรวจพื้นที่ระบบสูบน้ำเพื่อกระจายน้ำเชิงเกษตร ปริมาณ 10-15คิว/ชม.และต่อท่อระบายน้ำไปทั่วทิศทางเพื่อการกระจายบนพื้นที่รวมกว่า 500 ไร่โดยทีมงานได้มีการสอบถามการใช้ประโยชน์ของเกษตรกรในพื้นที่หลังจากการติดตั้ง พร้อมวิธีรับมือที่จะให้ประโยชน์สูงสุด อบต.แก้ไขให้ได้ ซึ่งโครงการอีกมากมายที่ ทางบริษัทได้มีส่วนร่วมมากมายโดยประสบการณ์ที่สะสมมาเป็นความภาคภูมิใจเป็นที่ยอมรับและยินดีที่จะร่วมงานกับโครงการภาครัฐอย่างต่อเนื่องในอนาคตเพื่อเตรียมพร้อมที่จะรับมือกับภัยแห้งที่จะมาถึงในอนาคต
บริษัท เอส.อาร์ พีอี กรุ๊ป จำกัด โรงงานผลิตท่อ HDPE เราเป็นผู้รับเหมาและร้านขายท่อ PE ,ท่อ HDPE ประปา ,ท่อ HDPE ประปา,สำหรับระบบประปา และร้อยสายไฟรวมถึงท่อลอนพีอีเสริมเหล็กสำหรับระบบระบายน้ำและรวบรวมน้ำเสีย
แหล่งที่มาอ้างอิง:
https://www.rid.go.th/thaicid/_5_article/13symposium/21.pdf
https://www.thaipost.net/general-news/115849/
สามารถติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่:
เว็บไซต์: https://www.srpegroup.co.th
FB: https://www.facebook.com/srpegroup/
LINE OA: